ลวดหนามเทวดา เบอร์ 14 ชุบซิงค์จุ่มร้อนหนาพิเศษ กันสนิม ใช้นาน 40 ปี

เทวดาน่ารู้ ลวดหนามเทวดา เบอร์ 14 ชุบซิงค์จุ่มร้อนหนาพิเศษ กันสนิม ใช้นาน 40 ปี ลวดหนามเทวดา เบอร์ 14 คุณภาพเหนือกว่า ชุบซิงค์จุ่มร้อนหนาพิเศษ ≥ 245 กรัม/ตร.ม. มาตรฐานออสเตรเลียพรีเมี่ยม AS/NZs ทนสนิมกว่า อายุการใช้งานนาน 40 ปี* เหนียวกว่า ผลิตจากลวดแรงดึง รับแรงกระแทกได้ดี แน่นกว่า เกลียวหนามพันแบบไขว้สลับสวนทาง (Reversed Twist)…

Continue Readingลวดหนามเทวดา เบอร์ 14 ชุบซิงค์จุ่มร้อนหนาพิเศษ กันสนิม ใช้นาน 40 ปี

รั้วตาข่ายเทวดา ชุบซิงค์จุ่มร้อนหนาพิเศษ กันสนิม ใช้นาน 30-40 ปี

เทวดาน่ารู้ รั้วตาข่ายเทวดา ล้อมได้หมด ล้อมได้ทุกประเภท ทนสนิม ใช้นาน 30- 40 ปี* ทำไมต้องเลือกใช้งานรั้วตาข่ายเทวดา คุณภาพเหนือกว่า ชุบซิงค์แบบจุ่มร้อนอย่างหนาพิเศษ (Hot Dipped Heavy Galvanized) มากกว่า 215-245 กรัม/ตร.ม. (gsm) มาตรฐานเกรดออสเตรเลียพรีเมี่ยม AS/NZs ทนสนิมกว่า อายุการใช้งานมากกว่า 30-40 ปี* แข็งแรงกว่า เส้นลวดหนา 2.00- 2.50…

Continue Readingรั้วตาข่ายเทวดา ชุบซิงค์จุ่มร้อนหนาพิเศษ กันสนิม ใช้นาน 30-40 ปี

รั้วตะแกรงเหล็ก ตัวเลือกที่ทนทาน ปลอดภัย เหมาะกับการใช้งานหลากหลายในเมืองไทย

เทวดาน่ารู้ รั้วตะแกรงเหล็ก ตัวเลือกที่ทนทาน ปลอดภัย เหมาะกับการใช้งานหลากหลายในเมืองไทย รั้วตะแกรงเหล็ก เป็นสิ่งกั้นแบ่งพื้นที่ที่มีความหลากหลายในการใช้งานและประโยชน์ เราสามารถพบเห็นรั้วตะแกรงเหล็กในที่ต่างๆ เช่น สนามบิน ทางรถไฟ ทางด่วน-มอเตอร์เวย์ หรือแม้แต่ในสวนสาธารณะ แต่คำถามที่อาจเกิดขึ้นในหัวของผู้คนคือ "รั้วตะแกรงเหล็กนั้น ทำไมถึงเป็นทางเลือกที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก?" ในบทความนี้…เราจะพาไปหาคำตอบว่าทำไม “รั้วตะแกรงเหล็ก” ถึงเป็นตัวเลือกที่ทนทาน ปลอดภัย เหมาะกับการใช้งานหลากหลายในเมืองไทย รวมถึงพาไปสำรวจคุณสมบัติพิเศษของรั้วตะแกรงเหล็ก และเหตุผลหลักๆ ที่ทำให้มันเป็นเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการใช้งานในสถานที่ต่างๆ ในประเทศไทย ทั้งในเชิงด้านความปลอดภัย ความแข็งแรงทนทาน และความสวยงามกันครับ… รั้วตะแกรงเหล็ก คืออะไร? รั้วตะแกรงเหล็ก…

Continue Readingรั้วตะแกรงเหล็ก ตัวเลือกที่ทนทาน ปลอดภัย เหมาะกับการใช้งานหลากหลายในเมืองไทย

ทำความรู้จัก รั้วตะแกรงเหล็กเลือกแบบไหนดี? มีกี่แบบให้เลือกกันนะ?

เทวดาน่ารู้ ทำความรู้จัก รั้วตะแกรงเหล็กเลือกแบบไหนดี? มีกี่แบบให้เลือกกันนะ? ถ้าพูดถึงรั้วที่คงทนแข็งแรงต่อการใช้งาน หลายๆ คนคงนึกถึง “รั้วตะแกรงเหล็ก” ที่ได้รับความนิยมและถูกใช้ในการกั้นพื้นที่มาเป็นเวลายาวนาน ไม่ว่าจะเป็นรั้วบ้าน รั้วอาคาร รั้วโรงงาน รั้วสนามบิน รั้วสำนักงาน รั้วมอเตอร์เวย์ หรือรั้วทางด่วน เป็นต้น เนื่องจากรั้วตะแกรงเหล็กมีคุณสมบัติที่แข็งแรง ทนทาน เหมาะสำหรับใช้ในทุกพื้นที่ แม้ในสถานที่ที่มีอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย หรือสถานที่ที่ต้องการความปลอดภัยสูง ทำให้รั้วตะแกรงเหล็กเป็นที่ต้องการของผู้ที่กำลังสร้างอาคารหรือต้องการกั้นพื้นที่เป็นอย่างมาก ในปัจจุบัน นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ทำให้ “รั้วตะแกรงเหล็ก” มีการผสมผสานเทคโนโลยีต่างๆ ไว้ด้วยกัน ทำให้มีความทนทานมากกว่าเดิม…

Continue Readingทำความรู้จัก รั้วตะแกรงเหล็กเลือกแบบไหนดี? มีกี่แบบให้เลือกกันนะ?

โปรโมชั่น งานเหลืองจันท์ 2567

โปรโมชั่น รักษ์เหลือจันท์ ออนไลน์ งานรักษ์เหลืองจันท์'67 โปรจัดหนัก รับต้นปี "รั้วตาข่าย ลวดหนาม เทวดา" ลดทุกรุ่น ทุกม้วน 10-18 กุมภาพันธ์ 2567 ทางออนไลน์เท่านั้น 9 วันเท่านั้น!! รั้วตาข่าย ลวดหนาม เทวดา จัดโปรโมชั่นออนไลน์ “ งานรักษ์เหลืองจันท์ ปี 67” โปรโมชั่นสุดพิเศษ สั่งซื้อออนไลน์ได้ระหว่างวันที่ 10 - 18…

Continue Readingโปรโมชั่น งานเหลืองจันท์ 2567

โปรโมชั่นพิเศษ เกษตรแฟร์ ปี 67

โปรโมชั่น งานเกษตรแฟร์ ปี 67 โปรดี โปรเด็ด รับปีมังกรทอง "รั้วตาข่าย ลวดหนาม เทวดา" ลดทุกรุ่น ทุกม้วน 2-10 กุมภาพันธ์ 2567 ม.เกษตรศาสตร์ (บางเขน) 9 วันเท่านั้น !! รั้วตาข่าย ลวดหนาม เทวดา ออกงานโชว์ตัวที่ "งานเกษตรแฟร์ 2567" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 2-10 กุมภาพันธ์ 2567…

Continue Readingโปรโมชั่นพิเศษ เกษตรแฟร์ ปี 67

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

เทวดาน่ารู้ เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน! รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเองแต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566…

Continue Readingเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

โปรโมชั่นพิเศษ เกษตรกำแพงแสน ปี 66

โปรโมชั่นพิเศษ เกษตรกำแพงแสน ปี 66 พบกับ...รั้วตาข่าย ลวดหนาม เทวดา ในงานเกษตรกำแพงแสน 66 ระหว่างวันที่ 1 – 11 ธันวาคม 2566 นี้เท่านั้น กลับมาอีกแล้ว!!! กับงานเกษตรแฟร์สุดยิ่งใหญ่ ในจังหวัด นครปฐม 11 วันเท่านั้น !! รั้วตาข่าย ลวดหนาม เทวดา ออกงานโชว์ตัวที่งาน “ เกษตรกำแพงแสน ปี…

Continue Readingโปรโมชั่นพิเศษ เกษตรกำแพงแสน ปี 66

เปรียบเทียบให้เห็นชัดๆ ภาษีที่ดิน vs ภาษีโรงเรือน แตกต่างกันอย่างไร?

เทวดาน่ารู้ เปรียบเทียบให้เห็นชัดๆ ภาษีที่ดิน vs ภาษีโรงเรือน แตกต่างกันอย่างไร? ในปัจจุบัน รัฐบาลมีการกำหนดให้ยกเลิกภาษีโรงเรือนและที่ดิน และแทนที่ด้วยภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2562 ส่งผลต่อการเรียกเก็บและคำนวณภาษีอสังหาริมทรัพย์ในประเทศ โดยใช้ระบบใหม่ที่มีการกำหนดอัตราภาษีและขั้นตอนวิธีคำนวณที่แตกต่างจากเดิม บทความนี้ เราจะพาทุกคนการเปรียบเทียบให้เห็นชัด ๆ ระบบภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฉบับปี พ.ศ. 2562 กับระบบภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฉบับ พ.ศ. 2475 แตกต่างกันอย่างไรบ้าง? เพื่อให้เข้าใจถึงวิธีการคำนวณและกำหนดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้ถูกต้องป้องกันความขาดทุนและเสียเงินเพิ่มเติมในรูปของภาษีที่ไม่จำเป็นในภายหลัง ก่อนที่เราจะไปสำรวจความเปลี่ยนของระบบภาษีที่ดินทั้ง 2 แบบ ทุกท่านทราบหรือไม่? ว่าทำไมรัฐบาลจะต้องเปลี่ยนแปลงการจัดเก็บภาษีที่ดินใหม่?…

Continue Readingเปรียบเทียบให้เห็นชัดๆ ภาษีที่ดิน vs ภาษีโรงเรือน แตกต่างกันอย่างไร?

อัพเดต! อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ปี 2566 ใครต้องจ่าย? ต้องจ่ายเท่าไหร่?

เทวดาน่ารู้ อัพเดต! อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ปี 2566 ใครต้องจ่าย? ต้องจ่ายเท่าไหร่? อยากมีอสังหาริมทรัพย์เป็นของตัวเองต้องรู้! ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างคืออะไร? ต้องจ่ายหรือไม่? เราจะมาไขข้อสงสัยไปพร้อม ๆ กัน ก่อนอื่นเลยทุกท่านอาจยังไม่ทราบว่า “ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง” ถูกนำมาแทนที่ “ภาษีโรงเรือนและที่ดิน” และ “ภาษีบำรุงท้องที่” มาตั้งแต่ปี 2562 เนื่องด้วยความทับซ้อนทางกฏหมาย ทำให้มีการบังคับใช้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมาตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม 2562 และมีผลต่อการเก็บภาษีตั้งแต่ 1 มกราคม 2563…

Continue Readingอัพเดต! อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ปี 2566 ใครต้องจ่าย? ต้องจ่ายเท่าไหร่?